- 5 ปีแห่งความประทับใจของอดีตนักเรียนทุนรัฐบาลไทยในโลซาน“ตลอดระยะเวลาที่ผมศึกษา ณ มหาวิทยาลัยโลซาน ผมได้รับความรัก ความเมตตาจากอาจารย์และเพื่อนร่วมงานทุกคนอย่างดีมาโดยตลอด ทำให้ผมซึมซับวิถีการทำงาน การดำเนินชีวิต ที่เต็มไปด้วยความสุขแบบคนสวิส และผมคิดเสมอว่าประเทศสวิตเซอร์แลนด์เปรียบเสมือนบ้านหลังที่สองของผม และเป็นบ้านที่สวยงามที่สุดในโลก” ขอเท้าความในอดีต ผมมีความตั้งใจเป็นครูตั้งแต่เด็ก โดยความเป็นครูนั้นมันยิ่งใหญ่ในใจของผมเสมอมา ผมทำหน้าที่ครูที่ดี และเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับศิษย์ทุกคน ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 จนในปี พ.ศ. 2558 ผมได้รับคัดเลือกจากรัฐบาลไทยให้ไปศึกษาต่อระดับปริญญาเอกที่ไหนก็ได้บนโลกใบนี้ มหาวิทยาลัยแรกที่ผมคิดที่จะเรียนคือ มหาวิทยาลัยโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เนื่องจากเป็นมหาวิทยาลัยที่พระมหากษัตริย์ไทย ที่ผมและคนไทยทั้งประเทศรักและเคารพอย่างยิ่ง ถึง 2 พระองค์ ทรงศึกษา
- บันทึกแห่งการเรียนรู้และความประทับใจในสวิตเซอร์แลนด์ของนายกสมาคมนักเรียนเก่าสวิสส์คอลัมน์ “Thai Stories in Switzerland : สวิตเซอร์แลนด์ ดินแดนแห่งการเรียนรู้” จะพาท่านไปพบกับคุณกอบลาภ วัฒนศิริโรจน์ โปษะกฤษณะ นายกสมาคมนักเรียนเก่าสวิสส์ ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ซึ่งเป็นนักเรียนไทยรุ่นแรก ๆ ที่ได้มีโอกาสศึกษาเล่าเรียนในสวิตเซอร์แลนด์ โดยคุณกอบลาภได้ให้เกียรติมาเล่าเรื่องราวเมื่อครั้งยังเป็นนักเรียนไทยในสวิตเซอร์แลนด์เมื่อกว่า 50 ปีก่อน พร้อมทั้งสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการใช้ชีวิตในดินแดนสวิตเซอร์แลนด์ให้พวกเราได้รับทราบกัน สถานศึกษาในสวิตเซอร์แลนด์ โรงเรียน Pensionnat Florissant, Lausanne Chamblandes (พ.ศ. 2507-2511) ซึ่งเป็นโรงเรียนประจำ ตั้งอยู่ ณ
- Jenjira Staldemann, the Swiss Badminton Champion with a Thai HeartI met Jenny or Jenjira Staldemann, a young half-Thai-half-Swiss badminton player, in August 2019 at the Badminton World Championship in Basel. At the time, Jenny volunteered to coordinate for our Ambassador and Embassy
- จากวันนั้นจวบจนวันนี้ …. ของพระเทพกิตติโมลี และวัดศรีนครินทรวราราม | From Then until Now. The Story of Wat Srinagarindravararamภาคประชาชนมีความสำคัญอย่างยิ่งในการขับเคลื่อนความสัมพันธ์ไทย-สวิตเซอร์แลนด์ให้ราบรื่น และปฏิเสธไม่ได้เลยว่า หนึ่งในสิ่งที่ช่วยรักษาความสามัคคีกลมเกลียวของชุมชนไทยซึ่งมีขนาดใหญ่พอสมควรในสวิตเซอร์แลนด์ คือ พระพุทธศาสนา ที่ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางยึดเหนี่ยวจิตใจ และทำให้ชุมชนไทยมีบทบาทอย่างสร้างสรรค์ในสังคมสวิสตลอดหลาย 10 ปีที่ผ่านมา